รหัสโครงการ 5-04-1
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานส่งเสริมวินัยจราจร
ชื่อโครงการ งานส่งเสริมวินัยจราจร
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ข้อที่ 4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

1. หลักการและเหตุผล

           ปัจจุบันเด็กและเยาวชนจำนวนมาก มีความจำเป็นต้องเดินทางไปยังสถานศึกษาด้วยตนเอง ในรูปแบบต่างๆ ทั้งเดินเท้า ขับขี่รถ โดยสารรถประจำทาง ซึ่งล้วนแต่มีความเสี่ยงในการใช้รถใช้ถนนด้วยกัน ทั้งสิ้น และที่มีความนิยมมากและเป็นสาเหตุสำคัญของการ เกิดอุบัติเหตุสูงก็คือ ขับขี่หรือซ้อนท้าย รถจักรยานยนต์ไปยังสถานศึกษา ซึ่งบางคนมีพฤติกรรมเสี่ยงในการขับขี่ เช่น ขาด ประสบการณ์และทักษะใน การขับขี่ ประมาท ชอบความเสี่ยง คิดว่าตัวเองเก่ง ชอบขับขี่เร็วด้วยความคะนองตามวัย ไม่รู้ว่าสิ่งใดเป็น อันตราย เพื่อนยุ เมาแล้วขับ ไม่เคารพกฎจราจร ขาดจิตสำนึกในการใช้รถใช้ถนน ไม่ใส่ใจในความปลอดภัย ของตนเองและเพื่อน ร่วมทาง พฤติกรรมเหล่านี้ส่งผลให้การเกิดอุบัติเหตุในเด็กและเยาวชนซึ่งอยู่ในวัยกำลัง ศึกษา มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูงเมื่อ เปรียบเทียบกับผู้ขับขี่ในช่วงอายุอื่น ประกอบกับรัฐบาลได้กำหนดให้ ปี 2554 – 2563 เป็นปี “ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน” โดยมีเป้าหมายลดจำนวนผู้เสียชีวิตจาก อุบัติเหตุทางถนนลงปีละ 5 เปอร์เซ็นต์ หรือ 50 เปอร์เซ็นต์ภายในปี 2563 จึงถือเป็นนโยบาย สำคัญที่ กรมการขนส่งทางบกต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องและจริงจังเพื่อให้ประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ดังนั้น กลุ่มเสี่ยงต่ออุบัติเหตุและการบาดเจ็บ ที่ควรมุ่งเน้นดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหา ที่สำคัญคือ เด็กและเยาวชน ซึ่งจะ ต้องให้ความรู้ความเข้าใจ ปลูกฝังจิตสำนึกความปลอดภัยให้เหมาะสม กับวัย โดยผ่านการเข้าถึงกลุ่มเด็กและเยาวชนในหลายๆ ช่อง ทาง และช่องทางที่เหมาะสมถือเป็นหัวใจสำคัญ ที่จะทำให้เด็กและเยาวชนได้รับความรู้ความเข้าใจ มีจิตสำนึกในการใช้รถใช้ถนนที่ ปลอดภัย เป็นภูมิคุ้มกัน ความเสี่ยงในการดำเนินชีวิตทั้งปัจจุบันและอนาคต ที่จะแก้ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนได้อย่างตรงจุด คือ การ ให้ ความรู้ควบคู่ไปกับความบันเทิงในวันเด็ก และวันแม่แห่งชาติของทุกปี ซึ่งเป็นวันที่เด็กมีความรู้สึกภาคภูมิใจใน ตนเอง สามารถ จดจำสาระความรู้ที่ได้รับ สร้างความประทับใจ ควบคู่ไปกับความบันเทิงที่ได้รับได้เป็นอย่างดี ซึ่ง ไม่เพียงแต่เด็กและเยาวชนเท่านั้นที่ จะได้รับความรู้ ผู้ปกครอง และบุคคลทั่วไปที่พาเด็กมาร่วมงาน หรือมาร่วม งานด้วยตัวเอง ก็จะได้รับความรู้พร้อมกันไปด้วย


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม - ลดภาวะโลกร้อน
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำหรับเสริมสร้างวินัยทางจราจร
2. เพิ่มประสิทธิภาพงานจราจร

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.มีวัสดุอุปกรณ์สำหรับเสริมสร้างวินัยทางจราจรที่เพียงพอร้อยละ 80
  เชิงคุณภาพ
    1.ครู นักเรียน ชุมชน มีความพึงพอใจในการให้บริการระดับดีมาก

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2564          ถึงวันที่ : 30/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    งานส่งเสริมวินัยจราจร
  ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมชี้แจง รายละเอียดโครงการ(T1) 2.วางแผนสืบหาราคาวัสดุอุปกรณ์และข้อมูล(T2) -ประสานงานกับครูและนักเรียนให้ทราบ
  ขั้นดำเนินการ 1.จัดซื้อตามสเป็ก (M1) 2.จัดกิจกรรมตามโครงการ (M2)
  ขั้นสรุป 1.รายงานผลการจัดซื้อ (v1) 2.สรุปและประเมินผลโครงการ (v2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2564     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.งานบริหารทั่วไป 2.งานกิจการนักเรียน
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
โรงเรียนมีวินัยจราจรที่ดี มีวัสดุ อุปกรณ์ สำหรับงานจราจรที่เพียงพอ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 5-10-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานส่งเสริมกิจกรรม TO BE NUMBER ONE
ชื่อโครงการ กิจกรรม TO BE NUMBER ONE
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. ผลิตและพัฒนากำลังคนรวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอุดมศักดิ์ นาคะพันธ์

1. หลักการและเหตุผล

           โครงการ TO BE NUMBER ONE หรือ โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี มีเป้าหมาย การพัฒนาเยาวชน วัยรุ่น ให้มีภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจ และเปิดโอกาสให้ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด เปิดเผย ตัวเองเข้ารับการบำบัดรักษา ฟื้นฟู โดยสมัครใจ ภายใต้ กิจกรรม “ใครติดยายกมือขึ้น” โดยมียุทธศาสตร์และวิธีการดำเนินโครงการที่ ยึดวัยรุ่น และเยาวชนเป็นศูนย์กลางบนพื้นฐานการเข้าถึงสาเหตุของปัญหา เข้าใจธรรมชาติ พฤติกรรมและความต้องการของเยาวชน วัยรุ่นและกลุ่มเสี่ยงอื่นๆ ทั้งวัยทำงาน ในสถานประกอบการ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสพ ในสถานพินิจฯ เรือนจำ และสำนักงาน คุมประพฤติ โดยมีกลยุทธ์สำคัญคือการใช้สโลแกน “เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด”ก่อ ให้เกิดความท้าทาย และจูงใจเยาวชนไม่ให้ยุ่งกับยาเสพติด แต่มุ่งค้นหาความเป็นหนึ่ง ของตนเอง แนวคิดและกิจกรรมในโครงการเน้นการให้โอกาสมากกว่าการปราบปราม โดยเพิ่มโอกาสให้ เยาวชนได้รับการพัฒนาและแสดงความสามารถที่หลากหลาย ใน ลักษณะส่งเสริมการแข่งกันทำความดี เป็นสิ่งจูงใจให้เยาวชนอยาก เข้าร่วมกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เป็นลักษณะ Play and Learn ใช้ กิจกรรมเป็นสื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้ อย่างมีความสุขและสนุกกับการเรียนรู้ โดยการ ประยุกต์กับองค์ความรู้สุขภาพจิตและมีแนวทางการดำเนินงานโดยใช้วิธีบูรณาการ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชนในทุกระดับ กิจกรรม ในโครงการส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นการให้ โอกาสและทางเลือกแก่เด็กและ เยาวชนที่เท่าเทียมกัน เพื่อพัฒนาทักษะทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสังคม โดยใช้ กระบวนการ กลุ่ม เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงจาก “ภายใน” เช่น การค้นพบ ความสามารถของตนเอง การนับถือ ภาคภูมิใจ และเห็นคุณค่าใน ตนเอง ให้เยาวชน เลือกทำกิจกรรมที่ตนเองสนใจและชื่นชอบ มีวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และเป็น Idol ของเยาวชน ด้วยวิธีการสอน และฝึกทักษะแบบไม่กดดัน ซึ่งมี ความเหมาะสมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้จัดแสดงผลงานและมีความคิดสร้างสรรค์
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
-

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ร่วมกิจกรรม 2. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงโทษของอบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถ ป้องกันตนเองได้
3. เพื่อให้นักเรียนได้แสดงออกตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ
4 .นักเรียนมีภาวะผู้นำ สามารถแก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงาน ของชมรมด้วยความภาคภูมิใจ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. นักเรียนตระหนักถึงโทษของอบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถป้องกันตนเองได้
2. นักเรียนได้แสดงออกตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ
3.นักเรียนมีภาวะผู้นำ สามารถแก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงานของชมรมด้วยความภาคภูมิใจ
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนมีมีความตระหนักถึงโทษของอบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถป้องกันตนเองได้ในระดับดี
2. นักเรียนกล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก ตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจในระดับดี
3. นักเรียนสามารถแก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงานของชมรมด้วยความภาคภูมิใจ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2564          ถึงวันที่ : 30/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรม TO BE NUMBER ONE
  ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมชี้แจงรายละเอียดของโครงการ 2.เขียนโครงการ 3.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
  ขั้นดำเนินการ 1. ติดต่อประสานงาน 2.ประกวดชมรมทูบีนัมเบอร์วันระดับจังหวัด 3.จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำทูบีนัมเบอร์วัน 4.ส่งนักเรียนเข้าประกวดแกนนำเยาวชนเก่งและดี
  ขั้นสรุป 1.สอบถามความพึงพอใจในการ ดำเนินโครงการ 2.รายงานผลการจัดกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 2000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2564     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นางสาวบุษรารัตน์ แก้วสอาด

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 2,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 2,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.งานอาคารสถานที่ 2.งานกิจการนักเรียน
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีมีความตระหนักถึงโทษของอบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถ ป้องกันตนเองได้ในระดับดี 2. นักเรียนกล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก ตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจในระดับดี 3. นักเรียนสามารถแก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงานของชมรมด้วยความ ภาคภูมิใจ
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 5-03-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานผู้ปกครองเครือข่าย
ชื่อโครงการ ผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายอรรถพล ศรัทธาผล

1. หลักการและเหตุผล

           การศึกษาถือเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศ ดังนั้นกระบวนการจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาตนเองเป็น ทรัพยากร มนุษย์คุณภาพควบคู่กับการมีคุณธรรม สามารถดำรงชีพอยู่ในสังคมและท้องถิ่นของตนเอง อันจะส่งผลให้ประเทศชาติเกิด การพัฒนา อย่างมั่นคงและยั่งยืนต่อไป พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติถือเป็นกลไกหลักที่จะผลักดันไปสู่การพัฒนาดังกล่าวได้ให้ ความสำคัญกับ การมีส่วนร่วมของชุมชนและท้องถิ่นในการส่งเสริมการจัดการศึกษา ดังจะเห็นได้จากสาระสำคัญของพระราชบัญญัติการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 9(6) ให้จัดการศึกษาโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่น เข้ามามีบทบาท และมีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษา พัฒนาสถานศึกษาในด้านต่างๆ เช่น ร่วมสนับสนุนกิจกรรมให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการ จัดการศึกษา โดยผ่าน ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษานั้นๆ ทั้งนี้เพื่อให้การจัดการศึกษาสอดคล้องกับความหลากหลายทาง วัฒนธรรมและท้องถิ่นนั้นๆ ของ ตนเอง

โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ในฐานะเป็นหน่วยงาน หลักรับผิดชอบการจัดการศึกษาของ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาการญจนบุรี ซึ่งต้องนำแผนมาสู่การ ปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม รวมทั้งช่วยเหลือในการแก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนมีทักษะชีวิตที่ดี มีคุณภาพ และเติบโต เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์จึงได้จัด ทำโครงการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนเพื่อพัฒนาโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม อันจะส่งผลให้ เกิดการพัฒนาการศึกษาของในจังหวัด กาญจนบุรีในรูปแบบที่มั่นคงและยั่งยืน


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- - มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
-

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมและผู้เกี่ยวข้อง ได้รับความรู้ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน
2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนมีสัมพันธภาพที่ดีโดยได้พบปะแลกเปลี่ยนทัศนคติ ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะและประสบการณ์ รวมถึงปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ภายในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1.มีเครือข่ายผู้ปกครองทุกชั้น/ห้องเข้าร่วมประชุมทุกภาคเรียน ร้อยละ 80 ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมประชุมผู้ปกครองเครือข่าย
2.มีเครือข่ายผู้ปกครองทุกห้องเรียน ห้องเรียนละ 5 คน
3.มีเครือข่ายผู้ปกครองทุกระดับชั้น ระดับชั้นละ 45 - 50 คน
4.มีเครือข่ายผู้ปกครองโรงเรียน จำนวน 12 คน
  เชิงคุณภาพ
    1. ผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน เข้ามาช่วยเหลือในการดูแลนักเรียนให้มีคุณภาพ ร่วมถึงมีส่วนช่วยในการจัดการศึกษา แก้ปัญหาและเสนอแนะจากกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2564          ถึงวันที่ : 30/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    ประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน ภาคเรียนที่ 1
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
- จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน เพื่อวิเคราะห์โครงการและกำหนดทิศทางการดำเนินงาน
2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
- จัดทำคำสั่งและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
- คณะกรรมการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2)
- มีการประสานงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1)
- ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน
6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2)
- สรุป รายงานผล ปรับปรุง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงกิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 6000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2564     ถึงวันที่ 31/12/2564
  ผู้รับผิดชอบ นายอรรถพล ศรัทธาผล
    กิจกรรมที่ 2    ประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน ภาคเรียนที่ 2
  ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) - จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน เพื่อวิเคราะห์โครงการและกำหนดทิศทางการดำเนินงาน 2. ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) - จัดทำคำสั่งและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน
  ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) - คณะกรรมการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ 4. ขั้นตอนการประสานงาน (M2) - มีการประสานงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายบริหาร เพื่อให้กิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  ขั้นสรุป 5. ขั้นตอนการประเมินผล (V1) - ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน 6. ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) - สรุป รายงานผล ปรับปรุง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงกิจกรรมประชุมผู้ปกครองเครือข่ายนักเรียน
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 6000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 3/1/2565     ถึงวันที่ 31/3/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายอรรถพล ศรัทธาผล

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 12,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 12,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้ปกครองนักเรียน ครูและนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนทุกคนได้รับการดูแลช่วยเหลือให้มีคุณภาพที่ดียิ่งขึ้น
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 5-06-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานหัวหน้าระดับชั้น
ชื่อโครงการ จิตอาสาพัฒนาผู้เรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ ข้อที่ 3. ผลิตและพัฒนากำลังคนรวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน ว่าที่ร้อยตรีหญิงทิพย์มาศ สำแดง

1. หลักการและเหตุผล

           จิตอาสาคือ ผู้ที่มีจิตใจเป็นผู้ให้ อาจจะเป็นการให้สิ่งของ ให้เงิน ให้ความช่วยเหลือด้วยกำลังแรงกาย แรงสมอง ซึ่งเป็นการ เสียสละ สิ่งที่ตนเองมี แม้กระทั่งเวลา เพื่อเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้แก่ส่วนรวม งานจิตอาสาเป็นอีกช่องทางหนึ่ง ในการพัฒนายกระดับ จิตใจให้เยาวชน คนรุ่นใหม่ เช่นนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ให้มีความเข้าใจเอื้อเฟื้อ หันมาทำกิจกรรมเพื่อสังคมมากขึ้น เพราะงานจิตอาสาเป็นสิ่ง ที่ให้เยาวชนได้หันมาทำความเข้าใจในตนเองและสังคมเพิ่มมากขึ้น อันจะเห็นได้จากในปัจจุบันปัญหาสังคม เริ่มทวีความรุนแรงมากขึ้น ทั้งทางครอบครัว ชุมชนและสังคม ดังนั้นหากไม่รีบแก้ไขให้ทันท่วงที สังคมก็จะตกอยู่ภายใต้ความสับสน วุ่นวาย ซึ่งไม่ใช่เรื่องดีนัก แต่ การสร้างจิตสาธารณะให้เกิดขึ้นในหมู่เยาวชนได้มากเท่าไร สังคมแห่งการแบ่งปันเอื้ออาทรก็ยิ่งมีมากขึ้น เท่านั้น นอกจากจะช่วยให้ เยาวชนเหล่านี้ได้ปลดปล่อยพลังที่มีในตนเองแล้ว ยังเป็นการสร้างคุณลักษณะให้มีผลดีต่อสังคมอีกด้วย จึง ดำเนินการเขียนโครงการนี้ ขึ้น เพื่อร่วมกันพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้มีจิตอาสาอย่างแท้จริง

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้จัดแสดงผลงานและมีความคิดสร้างสรรค์
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
- นักเรียนมีความสามัคคี ปรองดอง
ด้านเศรษฐกิจ - ประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- กตัญญู รู้คุณ
ด้านสิ่งแวดล้อม - อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อสร้างจิตสำนึกในด้านจิตสาธารณะหรือจิตอาสาให้แก่นักเรียน และฝึกกิจกรรมจิตสาธารณะอย่างต่อเนื่อง

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. จำนวนนักเรียนร้อยละ 80 มีจิตสำนึกในด้านจิตสาธารณะหรือจิตอาสา และฝึกกิจกรรมจิตสาธารณะอย่างต่อเนื่อง
  เชิงคุณภาพ
    1. นักเรียนทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจความเป็นนักเรียนจิตสาธารณะ และมีพฤติกรรมจิตสาธารณะอย่างค่อนข้างถาวรหรือถาวร สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างเป็นสุข ตามหลักธรรมาภิบาล

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2564          ถึงวันที่ : 30/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    จิตอาสาพัฒนาผู้เรียน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนวางแผนการทำงานเป็นทีม 1.ประชุมคณะทำงานโครงการจิตอาสาพัฒนานักเรียน(T1) ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน 2.แต่งตั้งคณะทำงานโครงการจิตอาสาพัฒนานักเรียน(T2)
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ 1.บันทึกข้อความขออนุญาตทำกิจกรรม(M1) ขั้นตอนการประสานงาน 2.ติดต่อประสานงานกับคณะทำงานเพื่อดำเนินกิจกรรม(M2)
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล 1.สรุปผลการจัดกิจกรรม(V1) ขั้นตอนการกำกับติดตาม 2.บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม(V2)
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 0 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2564     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ ว่าที่ร้อยตรีหญิงทิพย์มาศ สำแดง

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หัวหน้าระดับชั้นทุกระดับชั้น
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดีและมีจิตอาสาอย่างแท้จริง
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 5-08-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานกิจกรรมวันสำคัญ
ชื่องาน กิจกรรมวันสำคัญ
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายณัฐพล กลีบสัตบุตร

1. หลักการและเหตุผล

          ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความเจริญรุ่งเรืองทางประเพณีและวัฒนธรรมมาตั้งแต่อดีต มีวันสำคัญต่าง ๆ มากมายที่ยึดถือปฏิบัติ สืบทอดกันมาช้านาน ในการปลูกฝังจิตสำนึกให้กับนักเรียนได้ตระหนักถึงความสำคัญของวันสำคัญต่าง ๆ ของไทย ทั้งยังเป็นการ ส่งเสริมให้นักเรียนประพฤติปฏิบัติตนตามหลักศาสนา และวัฒนธรรมอันดีงามได้ถูกต้อง รู้จักรักษาอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีไทย สืบสานและเข้าร่วมประสานความสัมพันธ์ที่ดีต่อสังคม เช่น วันครู วันเข้าพรรษา วันสงกรานต์ วันแม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ เทศกาลลอยกระทง เป็นต้น สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1.2 โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมตระหนักถึงความสำคัญของวันสำคัญต่าง ๆ นอกจากจัดกิจกรรมโดยสอดแทรกในการจัดการเรียนการสอนแล้ว จึงจัดโครงการงานวันสำคัญขึ้น โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน เพื่อให้นักเรียน และผู้ปกครอง ตลอดจนชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทางโรงเรียนได้ดำเนินการจัดขึ้น ซึ่งจะเป็นผลดีต่อนักเรียน ในการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขในสังคมปัจจุบัน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ด้านเศรษฐกิจ - ประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- กตัญญู รู้คุณ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ซื่อสัตย์สุทจริต
- ทำนุบำรุงศาสนา
ด้านสิ่งแวดล้อม - ทำนุบำรุงศาสนา
- ลดภาวะโลกร้อน
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และเห็นถึงความสำคัญของวันสำคัญต่าง ๆ ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของไทย
2. เพื่อให้ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนร้อยละ 98 มีส่วนร่วมในกิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ
  เชิงคุณภาพ
    1. ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของวันสำคัญต่าง ๆ ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของไทย

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2564          ถึงวันที่ : 30/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    วันสำคัญ
  ขั้นเตรียมการ การวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1)
1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. ขออนุมัติโครงการ
3. ประชุมคณะกรรมการวางแผนการปฏิบัติงาน
การกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2)
1. จัดทำคำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ การปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1)
1. จัดทำบันทึกขออนุญาตจัดกิจกรรม
2. จัดกิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ ตามปฏิทินประจำปี
การประสานงาน (M2)
1. ประสานงานกับทุกกลุ่มบริหารงานต่าง ๆ
  ขั้นสรุป การประเมินผล (V1)
1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
2. สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน
การกำกับติดตาม (V2)
1. บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินโครงการ
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 8000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมและหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2564     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายณัฐพล กลีบสัตบุตร

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 8,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 8,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมและหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนเกิดความภาภภูมิใจในความเป็นไทย มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และสามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 5-02-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานป้องกันและแก้ไขยาเสพติดในสถานศึกษา
ชื่อโครงการ โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางการะเกษ อ่อนแก้ว

1. หลักการและเหตุผล

           ตามที่รัฐบาลได้ประกาศให้การแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นวาระ แห่งชาติ ภายใต้แผนยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพ ติด พ.ศ. ๒๕๕๕ กำหนดกลยุทธ์ที่สำคัญในการดำเนินงาน ๗ แผน ๔ ปรับ ๓ หลัก ๖ เร่ง โดยมอบหมายให้แต่ละหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องรับผิด ชอบ ดำเนินการตามแผนงานตามยุทธศาสตร์ ที่กำหนด ซึ่ง กระทรวง ศึกษาธิการเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิด ชอบงานในแผนงานที่ ๓ การ สร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด (Potential Demand) สถาน ศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ได้ถูกกำหนดให้เป็นเป้าหมายในการดำเนิน งานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เนื่องจากมีนักเรียนที่เป็นวัย เสี่ยง เพื่อ เป็นการสนับสนุนการดำเนินงานดังกล่าว และขับเคลื่อนการ ดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวง ศึกษาธิการ ตามโครงการ สถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข และโครงการห้องเรียนสี ขาว ให้มีความชัดเจน เกิดความเข้ม แข็ง และมีการ ดำเนินงาน อย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรม โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม จึงได้จัดทำโครงการ สถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และ อบายมุขขึ้น
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการศึกษาหาความรู้ด้วยตัวเอง
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา
- ความรู้ด้านการอบรมและพัฒนาบุคลากร

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
- นักเรียนมีความสามัคคี ปรองดอง
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ - ประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- กตัญญู รู้คุณ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ซื่อสัตย์สุทจริต
- ทำนุบำรุงศาสนา
ด้านสิ่งแวดล้อม - ทำนุบำรุงศาสนา
- ลดภาวะโลกร้อน
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้ผู้เรียนป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษในสถานะการณ์โควิต
2. เพื่อให้ทราบข้อมูลนักเรียนที่มีความเสี่ยงและมีปัญหาการเสพสารเสพติดในสถานศึกษาในสถานะการณ์โควิต
3. เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการป้องกันและแก้ไขปัญหาผู้เรียนในสถานศึกษา
4. เพื่อสร้างเครือข่ายนักเรียนแกนนำห้องเรียนสีขาวในการต่อต้านยาเสพติด
5.เตรียมการเพื่อรับการประเมินโรงเรียนสีขาวปี2565

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    3.1.1 ผู้เรียนร้อยละ 90 ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษ 3.1.2 มีข้อมูลผู้เรียนที่เกี่ยวกับสารเสพติดในสถานศึกษาทุกห้องเรียน
3.1.3 ข้อมูลผู้เรียนทุกคนที่เกี่ยวข้องกับสารเสพติดได้รับการดูแลช่วยเหลือ
3.1.4 ผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงทุกคนได้รับการอบรมให้ความรู้และเสริมสร้างทักษะชีวิต
3.1.5สร้างนักเรียนแกนนำห้องเรียนสีขาวในการต่อต้านยาเสพติด
3.1.6รายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียนสีขาว
  เชิงคุณภาพ
    3.1ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 อยู่ในระดับดี
3.2สามารถผ่านการประเมินโรงเรียนสีขาว

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2564          ถึงวันที่ : 30/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    นวัตกรรม (Best Practice) ภูมิคุ้มกันดี สู่วิถี สถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมปรึกษาหารือผู้เกี่ยวข้อง
-จัดทำโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-คำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาติทำกิจกรรม
-ปฎิทินปฎิบัติงาน
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานวิทยากรและกรรมการตัดสิน / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการคัดเลือกผลงานนักเรียนดีเด่น
-เผยแพร่ผลงานและสร้างเครือข่าย
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
b -แบบประเมินความพีงพอใจในการจัดกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับติดตาม(V2)
-สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อโรงเรียนและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กาญจนบุรี
-ข้อเสนอแนะจากผู้บริหาร/คณะกรรมการประเมิน/ผู้รับผิดชอบกิจกรรม/ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 12200 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2564     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นางการะเกษ อ่อนแก้ว
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพตืดในสถานศึกษา 5 ด้านคือ สร้างภูมิคุ้มกัน ค้นหา รักษา เฝ้าระวัง และบริหารจัดการ
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
-ประชุมปรึกษาหารือผู้เกี่ยวข้อง
-จัดทำโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-คำสั่งการดำเนินงาน-ประชุมปรึกษาหารือผู้เกี่ยวข้อง
-จัดทำโครงการเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
-คำสั่งการดำเนินงาน
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
-บันทึกขออนุญาติทำกิจกรรม
-ปฎิทินปฎิบัติงาน
-ตารางการอบรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
-ประสานวิทยากรอบรม / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-ดำเนินการจัดกิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกัน ค้นหา รักษา เฝ้าระวัง และบริหารจัดการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตืด
-ดำเนินการจัดกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
-แบบประเมินความพีงพอใจในการจัดกิจกรรม ขั้นตอนการกำกับติดตาม(V2)
-สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อโรงเรียนและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กาญจนบุรี
-ข้อเสนอแนะจากผู้บริหาร/คณะกรรมการประเมิน/ผู้รับผิดชอบกิจกรรม/ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 28240 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2564     ถึงวันที่ 30/9/2565
  ผู้รับผิดชอบ นางการะเกษ อ่อนแก้ว

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 40,440.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 40,440.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
6.1 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอท่ามะกา
6.2 ที่ว่าการอำเภอท่ามะกา
ุ6.3 โรงพยาบาลมะการักษ์
6.4 สถานีตำรวจภูธรท่ามะกา
6.5 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี
6.6 เทศบาลตำบลท่ามะกา
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
7.1 มีข้อมูลผู้เรียนที่มีความเสี่ยงต่อสารเสพติด และสามารถดำเนินการกำกับติดตาม ดูแลช่วยเหลือส่งต่อนักเรียนที่มีปัญหา เข้ารับการบำบัด
7.2 ผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการอบรมและมีทักษะชีวิตที่ดีขึ้นและปลอดภัยจากสิ่งเสพติด
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 5-05-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานส่งเสริมประชาธิปไตยและสภานักเรียน
ชื่อโครงการ งานส่งเสริมกิจการสภานักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวปัทวรรณ เชื้อชาย

1. หลักการและเหตุผล

          

กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2

สภานักเรียนเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาศักยภาพ ของนักเรียนและพัฒนาสังคมโรงเรียนให้เข้ม แข็งตามหลัก ธรรมธรรมาภิ บาลและวิถีประชาธิปไตยในโรงเรียน โดยเปิด โอกาสให้นักเรียนได้นำเสนอวิธีการพัฒนาโรงเรียนด้วยความ รับผิดชอบอย่าง สมดุลย์และเหมาะสม โดยน้อมนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มา เป็นแนวทางในการดำเนินงาน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยี
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝน สร้างนักเรียนให้มีทักษะในการทำงาน
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
-
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
- ความขยัน อดทน
-

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
- นักเรียนมีความสามัคคี ปรองดอง
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
- ซื่อสัตย์สุทจริต
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
2. เพื่อสร้างองค์กรนักเรียนให้มีศักยภาพตามหลักธรรมาภิบาล

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. มีสภานักเรียนที่ได้รับการเลือกตั้ง 1 คณะ จำนวน 20 - 30 คน
2. อบรมเครือข่ายสภานักเรียนระดับชั้น ม.1-ม.6 จำนวน 120 คน
3. รายงานผลการประเมิน จำนวน 1 เล่ม
  เชิงคุณภาพ
    1. สมาชิกสภานักเรียนและเครือข่ายที่มีศักยภาพร่วมคิดร่วมพัฒนา และร่วมรับผิดชอบโรงเรียน
2. สมาชิกสภานักเรียนและเครือข่ายที่มีความสามัคคี รักใคร่กลมเกลียว มีจิตสาธารณะและค่านิยมที่ดี

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 20/9/2564          ถึงวันที่ : 20/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    กิจกรรมอบรมสภานักเรียนและเครือข่าย
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) 1. สำรวจความต้องการ 2. ประชุมคณะกรรมการ เขียนโครงการ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) 1. จัดทำคำสั่งการดำเนินโครงการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 1.ดำเนินงานกิจกรรมอบรมสภานักเรียนและเครือข่าย ขั้นตอนการประสานงาน (M2) 1.ประชาสัมพันธ์กิจกรรม 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1) 1.สำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจ 2.สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) 1.รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 7880 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ หอประชุมสุทินศักดิ์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/8/2565     ถึงวันที่ 31/8/2565
  ผู้รับผิดชอบ ครูปัทวรรณ เชื้อชาย
    กิจกรรมที่ 2    กิจกรรมการเลือกตั้งสภานักเรียน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) 1. สำรวจความต้องการ 2. ประชุมคณะกรรมการ เขียนโครงการ ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) 1. จัดทำคำสั่งการดำเนินโครงการ
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) 1.ดำเนินงานกิจกรรมเลือกตั้งสภานักเรียน ขั้นตอนการประสานงาน (M2) 1.ประชาสัมพันธ์กิจกรรม 2.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1) 1.สำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจ 2.สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) 1.รายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 6200 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ หอประชุมสุทินศักดิ์ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/7/2565     ถึงวันที่ 30/7/2565
  ผู้รับผิดชอบ ครูปัทวรรณ เชื้อชาย

   รวม 2 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 14,080.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 14,080.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งานกิจการนักเรียน, งานส่งเสริมประชาธิปไตยและสภานักเรียน
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
มีสภานักเรียนที่ได้รับการเลือกตั้ง 1 คณะ จำนวน 20 - 30 คน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

 

 

รหัสโครงการ 5-07-4
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ชื่อโครงการ งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 ข้อที่ 4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวทิษฏิยา น้อยเกตุ

1. หลักการและเหตุผล

          งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ผ่านมานักเรียนทุกคนได้รับการดูแลช่วยเหลือให้มีคุณภาพดีเยี่ยม แต่ในปัจจุบันครอบครัวมีการ เปลี่ยนแปลงในด้านบทบาท และมีปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคมเพิ่มขึ้น ผู้ปกครองฝากบุตรหลานกับครูและโรงเรียน การดูแลนักเรียนใน ด้านการเรียน รวมทั้งช่วยเหลือในการแก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนมีทักษะชีวิตที่ดี มีคุณภาพและเติบโตเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์นั้น ครู จึง ต้องมีหน้าที่ดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยวิธีการที่หลากหลายและเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องดำเนินงานส่งเสริม ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย เดชมาเป็นแนวทางในการดำเนินงา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณกับกำลังและความสามารถของครู นักเรียนที่จะช่วยกันดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- พอประมาณกับสถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝนให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการศึกษาหาความรู้ด้วยตัวเอง
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยี
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้จัดแสดงผลงานและมีความคิดสร้างสรรค์
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้สามารถศึกษาต่อระดับที่สูงขึ้นได้
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ฝึกฝน สร้างนักเรียนให้มีทักษะในการทำงาน
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ผู้บริหารการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
- เป็นการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน
- มีการประชุม ปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
- มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการใช้ข้อมูลงานลักษณะนี้มาวางแผนการจัดการอย่างต่อเนื่อง
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- ความขยัน อดทน
- ความมีสติปัญญา รู้ผิดรู้ชอบ ตัดสินใจกระทำการใด ๆ บนเหตุผล
- ความรู้ด้านการบริหารจัดการ การศึกษา

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม - นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
- นักเรียนมีความสามัคคี ปรองดอง
- ปฏิบัติตามกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
- กตัญญู รู้คุณ
- รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- ซื่อสัตย์สุทจริต
- ทำนุบำรุงศาสนา
ด้านสิ่งแวดล้อม - ทำนุบำรุงศาสนา
- ลดภาวะโลกร้อน
- อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน 100% 2. ผู้แทนชุมชน ผู้ปกครองร่วมดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและครอบคลุมผู้เรียนทุกคน 100 %
  เชิงคุณภาพ
    1. จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคนในระดับดีเยี่ยม 2. ผู้แทนชุมชน ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและครอบคลุมผู้เรียนทุกคนในระดับดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 16/9/2564          ถึงวันที่ : 16/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    งานส่งเสริมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม (T1) - ประชุมชี้แจงและวางแผนการทำงาน - จัดทำกิจกรรมเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหารโรงเรียน ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน (T2) - จัดทำคำสั่งการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ (M1) - ดำเนินกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน - ดำเนินกิจกรรมการคัดกรองนักเรียน ขั้นตอนการประสานงาน (M2) - รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม - ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล (V1) - สำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจ - สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม (V2) - บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรม
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 35000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 16/9/2564     ถึงวันที่ 16/10/2565
  ผู้รับผิดชอบ นางสาววราพร น้อยเกตุ

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 35,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 35,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 2. ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม 3. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชนและผู้ปกครอง
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1 นักเรียนทุกคนได้รับการดูแลช่วยเหลือให้มีคุณภาพดีเยี่ยม
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
-

 

 

รหัสโครงการ 5-11-3
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงานกิจการนักเรียน
ชื่อโครงการ งานประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบริหารงานกิจการนักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ -
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นางสาวภัททิรา เงาะลำดวน

1. หลักการและเหตุผล

          การทำงานในงานด้านบริหารงานกิจการนักเรียนในทุก ๆ ฝ่ายต้องมีการประเมินงานในแแต่ละด้าน โดยคณะผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และ บุคลากรทางการศึกษาอื่น ๆ เพื่อเป็นการนำข้อบกพร่องในการทำงานของแต่ละฝ่ายมาปรับปรุงแก้ไขต่อ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม -
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อเป็นการแก้ไขและพัฒนางานในด้านบริหารงานกิจการนักเรียน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษาอื่น จำนวน 2,000 คน ทำแบบประเมินในกิจกรรมต่างๆ
  เชิงคุณภาพ
    การทำงานมีประสิทธิภาพดีเยี่ยม

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 1/10/2564          ถึงวันที่ : 30/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ


   รวม 0 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 0.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 0.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษาอื่น
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ
ความร่วมมือในการทำแบบประเมิน

 

 

รหัสโครงการ 5-01-2
โครงการ/งาน ประจำปีงบประมาณ 2565
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม   จังหวัดกาญจนบุรี


แผนงาน แผนงานกิจการนักเรียน
กลุ่มสาระ/งาน งานส่งเสริมประสิทธิภาพงานกิจการนักเรียน
ชื่องาน งานส่งเสริมประสิทธิภาพงานกิจการนักเรียน
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ -
จุดเน้น กระทรวงฯ ข้อที่ 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา  
  - มาตรฐานที่ 1.1 -
  - มาตรฐานที่ 1.2 -
  - มาตรฐานที่ 2 -
  - มาตรฐานที่ 3 -
พันธกิจโรงเรียน -
กลยุทธ์โรงเรียน -
พระราโชบาย ฯ -
จุดเน้นมาตรฐานสากล -
ผู้เสนอโครงการ/งาน นายเคบอย สินสุพรรณ์

1. หลักการและเหตุผล

          

ในการบริหารจัดการทุก ๆ ด้านในฝ่ายกิจการนักเรียน จำเป็นต้องมีวัสดุครุภัณฑ์ สำหรับใช้ ในการ บริหารจัดการให้เพียงพอ ซึ่งจะ ช่วยเอื้อต่อการเรียนการทำงานและการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน ตลอดจนจะช่วย พัฒนาการจัดการศึกษา ของโรงเรียนให้มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลดียิ่งขึ้น โรงเรียนโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคมได้ตระหนักใน เหตุผลดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการการ จัดซื้อ จัดหาวัสดุครุภัณฑ์ขึ้น กรณีต้องการย่อหน้าที่ 2


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักภูมิคุ้มกัน
- - -
เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้
- -

นำไปสู่การเชื่อมโยง 4 มิติ
ด้านสังคม -
ด้านเศรษฐกิจ -
ด้านวัฒนธรรม - มีคุณธรรม มีความรัก เมตตาต่อคนอื่น และสรรพสิ่งต่าง ๆ
ด้านสิ่งแวดล้อม -

 

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อจัดซื้อจัดหาวัสดุครุภัณฑ์ให้เพียงพอต่อการบริหารจัดการภายในฝ่ายบริหารงานกิจการนักเรียน

3. เป้าหมาย

  เชิงปริมาณ
    1. มีวัสดุครุภัณฑ์เพื่อใช้ในการบริหารจัดการภายในฝ่ายบริหารงานกิจการนักเรียนครอบคลุม 100 %
  เชิงคุณภาพ
    1. มีวัสดุครุภัณฑ์เพื่อใช้ในการบริการจัดการภายในโรงเรียนอย่างเพียงพอ

4. ระยะเวลาดำเนินการ

            เริ่มวันที่ : 20/9/2564          ถึงวันที่ : 20/9/2565

5. กิจกรรมที่ดำเนินการ

    กิจกรรมที่ 1    พัฒนาระบบงานกิจการนักเรียน
  ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนการวางแผนการทำงานเป็นทีม(T1)
- ประชุมวางแผนการทำงาน
ขั้นตอนการกำหนดหน้าที่ภาระงาน(T2)
- สำรวจรายการวัสดุอุปกรณ์
- กำหนดรายการที่จำเป็นต้องซื้อ
- มอบหมายผู้ที่เกี่ยวข้อง
  ขั้นดำเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติตามภาระหน้าที่(M1)
- บันทึกขออนุญาตทำกิจกรรม
- กำหนดการทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประสานงาน(M2)
- จัดทำรายการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
  ขั้นสรุป ขั้นตอนการประเมินผล(V1)
- แบบประเมินความพึงพอใจ
- แบบสรุปประเมินการทำกิจกรรม
ขั้นตอนการกำกับ ติดตาม(V2)
- บันทึกข้อความรายงานผลการประเมินกิจกรรมเสนอให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง
  งบประมาณ ใช้เงิน งปม. 12000 บาท         ใช้เงิน นอกงปม. 0 บาท
  พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
  ช่วงดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1/10/2564     ถึงวันที่ 1/10/2565
  ผู้รับผิดชอบ นายเคบอย สินสุพรรณ์

   รวม 1 กิจกรรม เงินอุดหนุนจัดการเรียนการสอน 12,000.00 บาท
  เงินระดมทรัพย์ 0.00 บาท
  รวมเงินทั้งสิ้น 12,000.00 บาท
6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีวัสดุครุภัณฑ์เพื่อใช้ในการบริการจัดการภายในฝ่ายบริหารงานกิจการนักเรียน
8. วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ